วันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2560

บทที่2 การนำเสนอข้อมูล

 การนำเสนอข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการศึกษามานำเสนอ หรือทำการเผยแพร่ให้ผู้ที่
สนใจได้รับทราบ หรือนำไปวิเคราะห์เพื่อไปใช้ประโยชน์      แบ่งออกได้ ลักษณะ     คือ
1.  การนำเสนออย่างไม่เป็นแบบแผน
              11.  การนำเสนอในรูปของบทความ
เช่น  " ในระยะเวลา  1  ปีที่ผ่านมาการเมืองของไทยอยู่ในสภาพที่ขาดเสถียรภาพ   มีการเดินขบวนเรียกร้องในด้านต่างๆมากมาย เนื่องจากความเป็นอยู่ที่แตกต่างกัน   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ท่านได้ให้แนวทางในการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางสมานฉันท์เพื่อให้ความเป็นอยู่ที่ดีและเกิดความปองดองในชาติ"
             1.2.  การนำเสนอข้อมูลในรูปของข้อความกึ่งตาราง  เป็นการนำเสนอข้อมูลที่มีข้อความและมีส่วนหนึ่งนำเสนอข้อมูลด้วยตาราง   เช่น  
         "การท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ได้มีแผนกลยุทธในการจัดการด้านการท่องเที่ยว  ทำให้มีนักท่องเที่ยวทั้งนอกประเทศและในประเทศสนใจมาท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ ไ ดังตาราง

 ตารางแสดงจำนวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่  พ.ศ 2545 - 2547
พ.ศ
ชาวต่างชาติ
ชาวไทย
2545
1,558,317
1,639,473
2546
1,431,351
1,714,843
2547
1,746,201
1,877,197
                                                                                                                                
2.  การนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน  
2.1.  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง
อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุในปี พ.ศ. 2546
สาเหตุการเสียชีวิต
จำนวนผู้เสียชีวิต (คน)
อุบัติเหตุทางรถยนต์
168,943
ไฟฟ้าช๊อต
32,945
ทะเลาะวิวาท
18,644
สิ่งของตกใส่
2,587
อื่น ๆ
95,142

2.2.  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิแท่ง 
2.2.1  แผนภูมิแท่งแนวตั้ง

2.2.2  แผนภูมิแท่งแนวนอน

2.3  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิวงกลม


2.4  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปภาพ

2.5  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนที่สถิติ
แผนที่แสดงความหนาแน่นของการเลี้ยงสัตว์รายจังหวัด โคเนื้อ ปี 2546


2.6.  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ
2.6.1  แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบแนวตั้ง


2.6.2  แผนภูมิเปรียบเทียบแนวนอน


2.7  การนำเสนอข้อมูลโดยใช้กราฟเส้น

 


หมายเหตุ  ในการนำเสนอข้อมูลแบบใดขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล   เช่น  ต้องการแสดงอุณหภูมิของภาคต่างๆ  ควรแสดงด้วยกราฟเส้น   ต้องการแสดงการเปรียบเทียบจำนวนักเรียนแต่ละระดับชั้น ควรใช้แผนภูมิแท่ง เป็นต้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น